นโยบายการติดตามและประเมินผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ
1.ความเป็นมา มาตรา 27 (5) ของพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย(ส.ส.ท.) กำหนดให้ คณะกรรมการนโยบายมีอำนาจหน้าที่ “ควบคุมการดำเนินงานของ คณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายของคณะ กรรมการนโยบาย” อันระบุชัดถึงความสำคัญและความจำเป็นของการกำกับดูแลให้การบริหารองค์การดำเนินไป อย่างมี นโยบายหรือมีแนวคิดและทิศทางกำกับซึ่งจากการสำรวจและทบทวนนโยบายที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายส.ส.ท. ในวาระปฏิบัติงานครบรอบ 1 ปี (สิงหาคม 2551-สิงหาคม 2552) คณะกรรมการ ฯได้ข้อสรุปว่านโยบายต่างๆในปัจจุบัน กล่าวได้ว่ามีความครบถ้วนเพียงพอแก่ การนำไป บริหารองค์การ ทั้งใน ส่วนของนโยบาย พื้นฐานที่กำหนดไว้ ในพระราช บัญญัติองค์การ และนโยบาย อื่นๆ ที่คณะกรรมการฯ ได้กำหนดเพิ่มเติมขึ้น ในระหว่างปี เพื่อให้การดำเนินงาน ของฝ่าย บริหารมีแนวคิดและทิศทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน เพื่อกำกับดูแลให้นโยบายทั้งหลาย ได้รับการนำไปปฏิบัติ คณะกรรมการฯ จึงเห็นความจำเป็นของการจัดวางกระบวน การติดตามและประเมินผลการนำนโยบายไปปฏิบัติให้มีความชัดเจน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ และร่วมกัน ผลักดัน ให้ส.ส.ท.ก้าวไปข้างหน้าโดยมีนโยบาย ,วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมหลัก (Core Value)ขององค์การเป็น กรอบกำกับ และเพื่อมิให้นโยบายและการบริหารยึดติดอยู่แต่งานประจำ (Routine) และสภาพความจริงในเวลาปัจจุบันจน ละเลยต่อ การคิดค้นความ ”แตกต่าง – สร้างสรรค์” อันจะนำไป สู่การพัฒนา นวัตกรรมทางนโยบาย และ ปฏิบัติการ แบบใหม่ คณะ กรรมการนโยบายจึงได้กำหนด ”กระบวนการติดตามและประเมินผลการนำนโยบายไปปฏิบัติ” นี้ขึ้น2.วัตถุประสงค์การติดตามและประเมิน 2.1 เพื่อติดตาม กำกับดูแลให้ นโยบายได้รับการนำ ไปปฏิบัติได้ อย่างสอดคล้อง ตรงกับแนวคิด และ ทิศทางของ นโยบายที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด2.2 เพื่อให้นโยบายที่กำหนดไปแล้ว ได้รับการติดตาม และประเมินผลจากการปฏิบัติ เพื่อนำกลับมาทบทวน ปรับ ปรุง และพัฒนาให้ก้าวหน้าเกิดประโยชน์สูงสุดแก่การพัฒนาองค์การได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 2.3 เพื่อกำกับดูแลการดำเนินงานและประเมินศักยภาพความสามารถในการนำนโยบายไปปฏิบัติของ ฝ่ายบริหาร 3. แนวทางของการติดตามและประเมิน 3.1 มุ่งการสื่อสาร 2 ทาง เพื่อให้นโยบายได้รับการกำหนด และพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่าง ผู้กำหนด 3.2 มุ่งการใช้เครื่องมือ กลไก ช่องทางที่มีอยู่แล้วในการติดตามและประเมินนโยบาย โดยพยายามให้กิจกรรมดัง 3.3 มุ่งให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการติดตามประเมินและเห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อตนเองหน่วยงานของตนและต่อ 4. การสนับสนุนการประเมิน 4.1.1 การประชุมของ คณะกรรมการ นโยบาย วาระทางการ ซึ่งมีเป็นประจำทุก 2 สัปดาห์ (เดือนละ 2 ครั้ง) โดย 4.1.2 การประชุม ร่วมระหว่าง คณะกรรมการนโยบาย และคณะกรรมการบริหาร ซึ่งได้กำหนด ร่วมกันว่าให้มี ขึ้น 4.1.3 การประชุมระหว่างคณะกรรมการนโยบายและผู้อำนวยการสำนักจัดให้มีขึ้นทุก3เดือนก่อนที่คณะกรรมการ 4.2 คณะกรรมการตรวจสอบ (ประเมินภายใน)ให้คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งขึ้นต่อคณะกรรมการนโยบายและเป็น 4.3 คณะกรรมการประเมินภายนอกให้คณะกรรมการประเมินภายนอกซึ่งคณะกรรมการนโยบายแต่งตั้งจากบุคคล |
||||
|